หัวข้อสำคัญ

บทความที่เกี่ยวข้อง

สถานีรถไฟหัวลำโพง

สถานีรถไฟหัวลำโพง หรือ สถานีรถไฟกรุงเทพ เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด เริ่มก่อสร้างขึ้นในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2453 สร้างเสร็จและเปิดใช้งานเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

Read More »

ป่าในกรุง จังหวัดกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

ป่าในกรุง (Metro Forest) พื้นที่ป่าในเมืองแห่งแรกที่เกิดจากการต่อยอดโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติในหลวงรัชกาลที่ 9 ขึ้นทั่วประเทศ ดำเนินงานโดยสถาบันปลูกป่าของบริษัท ปตท. ที่ปรับพื้นที่รกร้างกว่า 12 ไร่บนถนนสุขาภิบาล 2 เขตประเวศให้กลายเป็นผืนป่าในกรุงเทพฯ ที่อุดมไปด้วยพันธุ์ไม้ดั้งเดิมและหายากมากมาย และสร้างสะพานไม้ทอดยาวไปยังหอชมไม้เรือนยอดที่สามารถชมวิวป่าในกรุงได้แบบ

Read More »

พิกัด ที่เที่ยวสวยกรุงเทพ โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร มณฑปสีทอง สวยวิจิตรตระการตา

โลหะปราสาท ใครกำลังมองหาที่เที่ยวถ่ายรูปสวย วัดสวยในกรุงเทพฯ ขอแนะนำที่นี่เลย วัดราชนัดดารามวรวิหาร วัดเก่าแก่ และสวยงามคู่บ้านคู่เมืองของไทย และที่นี่ยังมี โลหะปราสาท หลังแรกหนึ่งเดียวในไทย และยังเป็นหลังที่ 3 ของโลกอีกด้วย ขอบอกเลยว่าที่นี่ มีความสวยงาม

Read More »

หอศิลป์กรุงเทพ BACC

หอศิลป์กรุงเทพ BACC หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (อังกฤษ: Bangkok Art and Culture Centre) หรือ หอศิลป์กรุงเทพฯ เป็นหอศิลปะร่วมสมัย ตั้งอยู่ที่หัวมุมตะวันตกเฉียงเหนือของสี่แยกปทุมวัน ในย่านสยาม แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร หอศิลป์แห่งนี้ได้เริ่มขึ้นเมื่อ ดร.พิจิตต รัตตกุล หอศิลป์เปิดกี่โมง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในขณะนั้นมีมติร่วมกับคณะกรรมการโครงการเฉลิมพระเกียรติฯ ศิลปะแห่งรัชกาลที่ 9 เมื่อปี พ.ศ. 2538 ให้กรุงเทพมหานครจัดสร้างหอศิลปะร่วมสมัยแห่งกรุงเทพมหานคร หอศิลป์ ค่าเข้า ณ สี่แยกปทุมวัน แต่โครงการกลับมาหยุดลงสมัยนายสมัคร สุนทรเวช เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ ซึ่งต้องการให้เป็นอาคารพาณิชย์มากขึ้น จนเกิดกิจกรรมเคลื่อนไหวคัดค้านจากหมู่นักศึกษาและศิลปิน ต่อมาในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ จึงพิจารณาเห็นชอบให้ดำเนินการจัดสร้างตามเดิม

หอศิลป์แห่งนี้เปิดอาคารแรกตั้งแต่วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2548 แต่ก่อสร้างแล้วเสร็จอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2551 อาคารได้รับการออกแบบให้เป็นทรงกระบอก สูง 9 ชั้น หอ ศิลป์ กรุงเทพ เปิด มีพื้นที่ทั้งหมด 25,000 ตารางเมตร โดยแบ่งเป็นห้องแสดงผลงาน โรงภาพยนตร์ ห้องสมุด ห้องเก็บรักษาผลงาน ห้องประชุม ร้านค้า และร้านอาหาร ในชั้นที่ 6 เป็นต้นไป มีทางเดินลาดเอียงเลาะขึ้นไปตามชั้นต่างๆ งาน หอ ศิลป์ ในรูปทรงกระบอกของอาคาร และมีการนำแสงธรรมชาติในการจัดแสดงงาน คล้ายคลึงกับพิพิธภัณฑ์โซโลมอน อาร์. กุกเกนไฮม์ ซึ่งเป็นงานชนะการประกวดแบบ ของบริษัทสถาปนิกโรเบิร์ต จี บุย แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จำกัด

ประวัติ หอศิลป์กรุงเทพ BACC

หอศิลป์กรุงเทพ BACC โครงการหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เริ่มต้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 โดยกลุ่มศิลปินร่วมสมัยแห่งประเทศไทยนับพันคนได้จัดแสดงผลงานที่ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โดยหวังให้สังคมเห็นว่า มีศิลปินมากพอที่ควรจะมี หอศิลป์ มาเป็นพื้นที่รองรับในการแสดงออกผลงาน และเก็บรักษาผลงานในอดีตและประวัติศาสตร์ เป็นที่รวมกลุ่มศิลปิน เพื่อพบปะ แลกเปลี่ยนความคิด แนวการทำงาน ผลก็คือการผลักดันให้เกิดการพัฒนาของวงการศิลปะในบ้านเมืองนี้

สมัยของ ดร.พิจิตต รัตตกุลได้รับตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ตลาดน้ำตลิ่งชัน รีวิว มีการผลักดันจนกระทั่ง กรุงเทพมหานคร มีนโยบายที่จะสร้างหอศิลป์ขึ้น มีการกำหนดพื้นที่ตั้งหอศิลป์ที่บริเวณสี่แยกปทุมวัน และผู้ชนะจากการประกวดแบบหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ได้แก่ บริษัท Robert G. Boughey & Associates (RGB Architects) ความพร้อมทั้งหมดนี้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2539 แต่ในสมัยของนายสมัคร สุนทรเวช ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนต่อมา โครงการหอศิลป์กรุงเทพมหานครถูกรื้อถอนโครงการความคืบหน้าเดิมทิ้งทั้งหมด ถ่ายรูปที่หอศิลป์ โดยเปลี่ยนเป็นพื้นที่การค้าตามรูปแบบการใช้พื้นที่แถบนั้น และมีส่วนแสดงศิลปะไว้เล็กน้อย ซึ่งบรรดาศิลปินและคนทำงานศิลปะในหลายแขนงต่างไม่พอใจในการยุบโครงการนี้เป็นอย่างมาก หอ ศิลป์ กรุงเทพ ค่า เข้า และได้เคลื่อนไหวเรียกร้องมาตลอดสมัยของนายสมัคร สุนทรเวช

จากการเคลื่อนไหวเรียกร้องต่อสู้เพื่อให้มีหอศิลป์โดยเครือข่ายประชาชนและกลุ่มศิลปินที่ยาวนาน จนกระทั่งกรุงเทพมหานคร โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ได้เล็งเห็นความสำคัญของศิลปวัฒนธรรม สวนรถไฟ และได้วางนโยบายด้านศิลปวัฒนธรรมเป็นนโยบายหลัก โดยมุ่งเน้นการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ของเด็ก เยาวชน และประชาชนในสังคม ให้ตระหนักถึงคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม สภาแห่งกรุงเทพมหานครจึงได้อนุมัติงบประมาณดำเนินการก่อสร้างหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร 509 ล้านบาท เพื่อผลักดันให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองแห่งศิลปวัฒนธรรม หอศิลป์ สยาม ค่าเข้า ซึ่งหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ค่าเข้าหอศิลป์ (Bangkok Art and Culture Centre or bacc) ได้เริ่มก่อสร้างในที่ดินของกรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกปทุมวัน และได้มีการเปิดโครงการหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครอย่างเป็นทางการ เมื่อวันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2548

ในกำหนดการเดิม ตลาดน้ำคลองลัดมะยม อยู่ที่ไหน หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร จะสร้างเสร็จช่วงปลายปี พ.ศ. 2549 แต่การก่อสร้างได้ล่าช้าออกไปจากเดิม แล้วเสร็จเปิดใช้งานเมื่อ พ.ศ. 2551 โดยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดหอศิลปฯ ประติมากรรมช้างเอราวัณ นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ ชุด “บารมีแห่งแผ่นดิน” และนิทรรศการโขนพรหมมาศ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งเป็นวันครบรอบ 4 ปี นับตั้งแต่การเปิดโครงการหอศิลปฯ แห่งนี้อีกด้วย

พื้นที่ใช้สอยและตัวอาคาร

ตัวอาคารสูง 9 ชั้น (บวกอีก 2 ชั้นใต้ดิน) โดยในตัวอาคารถูกออกแบบมาให้เป็นทรงกระบอก ซึ่งสามารถเชื่อมต่อระหว่างอาคารได้ด้วยทางเดินวน เป็นแนวเอียงขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้คนที่เข้ามาชมผลงาน เสาชิงช้า กรุงเทพ สามารถชมได้ต่อเนื่องในแต่ละชั้น นอกจากนี้ตัวอาคารยังออกแบบมาให้สามารถรับแสงสว่างจากภายนอกได้ โดยที่แสงไม่แรงพอที่จะเข้ามาถึงขนาดทำลายผลงานศิลปะที่แสดงอยู่ข้างในได้ หอศิลป์ในกรุงเทพ นอกจากห้องนิทรรศการที่มีอยู่หลายส่วนแล้ว ภายในยังมีส่วนที่เป็นห้องสมุดประชาชน, ห้องปฏิบัติการศิลปะ, ห้องอเนกประสงค์ 300 ที่นั่ง, ร้านค้า รวมไปถึงโรงภาพยนตร์-โรงละครขนาด 222 ที่นั่ง ภูเขาทอง วัดสระเกศ

สถานที่ตั้ง

บริเวณสี่แยกปทุมวัน หัวมุมถนนพระรามที่ 1 หอ ศิลป์ กรุงเทพ เปิด กี่ โมง และถนนพญาไท ตรงข้ามกับเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ และสยามดิสคัฟเวอรี่ ในย่านสยาม แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีทางเดินเชื่อมต่อกับสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสนามกีฬาแห่งชาติโดยตรง ไปหอศิลป์ รวมถึงเชื่อมต่อกับศูนย์การค้าโดยรอบผ่านสกายวอล์กวันสยาม

เวลาทำการ

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร หอศิลป์ค่าเข้า เปิดให้เข้าชม ตั้งแต่เวลา 10.00 น. – 20.00 น. ในวันอังคารถึงวันอาทิตย์ ไม่เก็บค่าเข้าชม หอศิลป์กรุงเทพ BACC